ความหมายของ Blog
Blog มาจากศัพท์คำว่า
WeBlog บางคนอ่านคำ ๆ นี้ว่า We Blog บางคนอ่านว่า
Web Log แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ทั้งสองคำบ่งบอกถึงความหมายเดียวกัน
ว่านั่นคือบล็อก (Blog)
ความหมายของคำว่า
Blog ก็คือการบันทึกบทความของตนเอง (Personal
Journal) ลงบนเว็บไซต์ โดยเนื้อหาของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ทุกเรื่อง
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวส่วนตัว หรือเป็นบทความเฉพาะด้านต่าง ๆ เช่น เรื่องการเมือง เรื่องกล้องถ่ายรูป
เรื่องกีฬา เรื่องธุรกิจ เป็นต้น โดยจุดเด่นที่ทำให้บล็อกเป็นที่นิยมก็คือ
ผู้เขียนบล็อก จะมีการแสดงความคิดเห็นของตนเองใส่ลงไปในบทความนั้น ๆ
โดยบล็อกบางแห่ง จะมีอิทธิพลในการโน้มน้าวจิตใจผู้อ่านสูงมาก แต่ในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะเขียนขึ้นมาเพื่อให้อ่านกันในกลุ่มเฉพาะ
เช่นกลุ่มเพื่อน ๆ หรือครอบครัวตนเองมีหลายครั้งที่เกิดความเข้าใจกันผิดว่า Blog
เป็นได้แค่ไดอารี่ออนไลน์ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ไดอารี่ออนไลน์เปรียบเสมือน
เนื้อหาประเภทหนึ่งของบล็อกเท่านั้น เพราะบล็อกมีเนื้อหาที่หลากหลายประเภท
ตั้งแต่การบันทึกเรื่องส่วนตัวอย่างเช่นไดอารี่ หรือการบันทึกบทความที่ผู้เขียนบล็อกสนใจในด้านอื่นด้วย
ที่เห็นชัดเจนคือ เนื้อหาบล็อกประเภท วิจารณ์การเมือง หรือการรีวิวผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
ที่ตัวเองเคยใช้ หรือซื้อมานั่นเอง
อีกทั้งยังสามารถแตกแขนงไปในเนื้อหาในประเภทต่าง ๆ อีกมากมาย ตามแต่ที่เจ้าของบล็อกจะเป็นคนที่ถนัดในด้านไหน
ก็มักจะเขียนบทความเรื่องที่ตนเองถนัด หรือสนใจเป็นต้น จุดเด่นที่สุดของ Blog ก็คือ
มันสามารถเป็นเครื่องมือสื่อสารชนิดหนึ่ง ที่สามารถสื่อถึงความเป็นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อก
และผู้อ่านบล็อกที่เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนของบล็อกนั้น ๆ ผ่านทางระบบ comment
ของบล็อกนั่นเอง ผู้คนหลายล้านคนจากทั่วทุกมุมโลก
หันมาเขียน Blog กันอย่างแพร่หลาย ตั้งแต่นักเรียน อาจารย์
นักเขียน ตลอดจนถึงระดับบริษัทยักษ์ใหญ่ในตลาดหุ้น NasDaq เมื่อสองสามปีที่ผ่านมา Blog เริ่มต้นมาจากการเขียนเป็นงานอดิเรกของกลุ่มสื่ออิสระต่าง
ๆ หลาย ๆ แห่งกลายเป็นแหล่งข่าวสำคัญให้กับหนังสือพิมพ์หรือสำนักข่าวชั้นนำ
จวบจนกระทั่งปี 2004 คนเขียน Blog ก็ได้รับการยอมรับจากสื่อและสำนักข่าวต่าง
ๆ ถึงความรวดเร็วในการให้ข้อมูลตั้งแต่เรื่องการเมืองไปจนกระทั่งเรื่องราวของการประชุมระดับชาติและจากเหตุการณ์เหล่านี้
นับได้ว่า Blog เป็นสื่อชนิดหนึ่งที่ไม่ต่างจาก วีดีโอ ,
สิ่งพิมพ์ , โทรทัศน์ หรือแม้กระทั่งวิทยุ
เราสามารถเรียกได้ว่า Blog ได้เข้ามาเป็นสื่อชนิดใหม่ที่สำคัญอย่างแท้จริง
มีหลายครั้งที่เกิดความเข้าใจกันผิดว่า Blog
เป็นได้แค่ไดอารี่ออนไลน์ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ไดอารี่ออนไลน์เปรียบเสมือน
เนื้อหาประเภทหนึ่งของบล็อกเท่านั้น เพราะบล็อกมีเนื้อหาที่หลากหลายประเภท ตั้งแต่การบันทึกเรื่องส่วนตัวอย่างเช่นไดอารี่
หรือการบันทึกบทความที่ผู้เขียนบล็อกสนใจในด้านอื่นด้วย ที่เห็นชัดเจนคือ เนื้อหาบล็อกประเภท
วิจารณ์การเมือง หรือการรีวิวผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ตัวเองเคยใช้ หรือซื้อมานั่นเอง
อีกทั้งยังสามารถแตกแขนงไปในเนื้อหาในประเภทต่าง ๆ อีกมากมาย ตามแต่ที่เจ้าของบล็อกจะเป็นคนที่ถนัดในด้านไหน
ก็มักจะเขียนบทความเรื่องที่ตนเองถนัด หรือสนใจเป็นต้น
ในอดีตแรกเริ่ม คนที่เขียน Blog นั้นยังทำกันในระบบ
Manual คือเขียนเว็บเองทีละหน้า แต่ในปัจจุบันนี้ มีเครื่องมือหรือซอฟท์แวร์ให้เราใช้ในการเขียน
Blog ได้มากมาย เช่น WordPress,
Movable
Type เป็นต้น
เมื่อสองสามปีที่ผ่านมา Blog เริ่มต้นมาจากการเขียนเป็นงานอดิเรกของกลุ่มสื่ออิสระต่าง
ๆ หลาย ๆ แห่งกลายเป็นแหล่งข่าวสำคัญให้กับหนังสือพิมพ์หรือสำนักข่าวชั้นนำ
จวบจนกระทั่งปี 2004 คนเขียน Blog ก็ได้รับการยอมรับจากสื่อและสำนักข่าวต่าง
ๆ ถึงความรวดเร็วในการให้ข้อมูลตั้งแต่เรื่องการเมืองไปจนกระทั่งเรื่องราวของการประชุมระดับชาติและจากเหตุการณ์เหล่านี้
นับได้ว่า Blog เป็นสื่อชนิดหนึ่งที่ไม่ต่างจาก วีดีโอ
, สิ่งพิมพ์ , โทรทัศน์ หรือแม้กระทั่งวิทยุ
เราสามารถเรียกได้ว่า Blog ได้เข้ามาเป็นสื่อชนิดใหม่ที่สำคัญอย่างแท้จริง
blogging
คำว่า Blog เป็นคำย่อจากคำว่า Weblog หรือ Web Log ซึ่งเป็นคำที่คิดขึ้นโดย โจร์น บาร์เกอร์ ในปี ค.ศ.1997 และต่อจากนั้นอีก 2 ปีต่อมา ปีเตอร เมอร์โฮลซ์ ซึ่งสร้าง Blog ของตนเอง แล้วตั้งชื่อว่า we blog ทำให้คำว่า Weblog ถูกย่อให้เหลือแค่เพียง Blog และกลายเป็นคำฮิตติดปาก ตั้งแต่นั้นมา
แต่การเปลี่ยนไอเดียจากกระดานข่าวสู่ Blog นั้น ยังไม่ถือว่าเป็นการประยุกต์ไอเดียเล็ก ๆ มาสร้างธุรกิจใหม่ได้เลยหากไม่มีบริษัทเล็ก ๆ ผู้ให้บริการจัดทำเว็บไซต์ และมี Blog เป็นของตนเองที่มองเห็นไอเดียเล็ก ๆ นี้จะเพิ่มมูลค่าให้ธุรกิจเหล่านั้นได้อย่างมหาศาล พวกเขาจึงก่อตั้งเว็บไซต์ Blogger.com ขึ้นมาและหวังว่านี่จะเป็นเว็บไซต์ที่ทำเงินได้ ซึ่งสุดท้าย ฝันก็เป็นจริง เมื่อวันหนึ่งเว็บ Blogger.com ของพวกเขาได้รับคำเสนอซื้อจากยักษ์ใหญ่แห่งวงการเสิร์จเอ็น จิ้นอย่าง Google.com ด้วยมูลค่าที่ใคร ๆ คาดไม่ถึง
เนื้อหาใน blog นั้นประกอบด้วย 3 ส่วน
คำว่า Blog เป็นคำย่อจากคำว่า Weblog หรือ Web Log ซึ่งเป็นคำที่คิดขึ้นโดย โจร์น บาร์เกอร์ ในปี ค.ศ.1997 และต่อจากนั้นอีก 2 ปีต่อมา ปีเตอร เมอร์โฮลซ์ ซึ่งสร้าง Blog ของตนเอง แล้วตั้งชื่อว่า we blog ทำให้คำว่า Weblog ถูกย่อให้เหลือแค่เพียง Blog และกลายเป็นคำฮิตติดปาก ตั้งแต่นั้นมา
แต่การเปลี่ยนไอเดียจากกระดานข่าวสู่ Blog นั้น ยังไม่ถือว่าเป็นการประยุกต์ไอเดียเล็ก ๆ มาสร้างธุรกิจใหม่ได้เลยหากไม่มีบริษัทเล็ก ๆ ผู้ให้บริการจัดทำเว็บไซต์ และมี Blog เป็นของตนเองที่มองเห็นไอเดียเล็ก ๆ นี้จะเพิ่มมูลค่าให้ธุรกิจเหล่านั้นได้อย่างมหาศาล พวกเขาจึงก่อตั้งเว็บไซต์ Blogger.com ขึ้นมาและหวังว่านี่จะเป็นเว็บไซต์ที่ทำเงินได้ ซึ่งสุดท้าย ฝันก็เป็นจริง เมื่อวันหนึ่งเว็บ Blogger.com ของพวกเขาได้รับคำเสนอซื้อจากยักษ์ใหญ่แห่งวงการเสิร์จเอ็น จิ้นอย่าง Google.com ด้วยมูลค่าที่ใคร ๆ คาดไม่ถึง
เนื้อหาใน blog นั้นประกอบด้วย 3 ส่วน
คือ 1.หัวข้อ( title )
2. เนื้อหา ( Post
หรือ Content )
3.วันที่เขียน( Date )
วิธีการสร้าง blog
1. การติดตั้งโปรแกรมทำ blog ขึ้นใช้ใน office ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้สร้าง blog เช่น WordPress b2evolution Nucleus pMachine MyPHPblog Movable Type Geeklog bBlog ( วิธีนี้ตั้งมีเครื่องเว็บเซิร์ฟเวอร์ในการใช้งานเอง อาจทำเป็น Intranet Blog หรือ Intenet Blog )
2. การใช้งาน blog ฟรี จากเว็บที่เปิดให้บริการปัจจุบันมีเว็บที่เปิดให้บริการหลายเว็บอาทิ เช่น Blogger.com ( en ) Bloglines.com ( en ) Exteen.com ( th ) Bloggang.com ( th ) เป็นต้น
หน่าเว็บที่มีการ update บ่อยๆ และเรียงโครงสร้าง ตามลําดับเวลา – อันใหม่อยู่บนสุด – โดยมักมี link ไปยังเว็บอื่นๆ และมีการแสดงข้อคิดเห็นส่วนตัว
บล็อกเป็นเทคโนโลยีการแสดงเนื้อหาแบบใหม่ และที่พัฒนามาจากระบบแสดงผล ข่าวประชาสัมพันธ์จนมีขีดความสามารถที่หลากหลายจนเทียบชั้นได้กับระบบบริหารจัดการข้อมูล ( Content Management ) บนเว็บไซต์เลยทีเดียว เพราะบล็อกในปัจจุบันทำได้ตั้งแต่แสดงภาพ แสดงข้อมูลมัลติมีเดีย จัดทำโพลโหวต เพลงประกอบเว็บ ระบบแสดงความคิดเห็น เป็นต้น ซึ่งในการใช้งาน Blogging ผู้ใช้ต้องทำการสมัครสมาชิกเข้าสู่ระบบ มีขั้นตอนดังนี้
1. ผู้ใช้ทำการสมัครสมาชิกโดยการป้อนชื่อผู้ใช้ และรหัสผ่านที่จะใช้เข้าสู่ระบบ ดังรูปที่ 1
วิธีการสร้าง blog
1. การติดตั้งโปรแกรมทำ blog ขึ้นใช้ใน office ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้สร้าง blog เช่น WordPress b2evolution Nucleus pMachine MyPHPblog Movable Type Geeklog bBlog ( วิธีนี้ตั้งมีเครื่องเว็บเซิร์ฟเวอร์ในการใช้งานเอง อาจทำเป็น Intranet Blog หรือ Intenet Blog )
2. การใช้งาน blog ฟรี จากเว็บที่เปิดให้บริการปัจจุบันมีเว็บที่เปิดให้บริการหลายเว็บอาทิ เช่น Blogger.com ( en ) Bloglines.com ( en ) Exteen.com ( th ) Bloggang.com ( th ) เป็นต้น
หน่าเว็บที่มีการ update บ่อยๆ และเรียงโครงสร้าง ตามลําดับเวลา – อันใหม่อยู่บนสุด – โดยมักมี link ไปยังเว็บอื่นๆ และมีการแสดงข้อคิดเห็นส่วนตัว
บล็อกเป็นเทคโนโลยีการแสดงเนื้อหาแบบใหม่ และที่พัฒนามาจากระบบแสดงผล ข่าวประชาสัมพันธ์จนมีขีดความสามารถที่หลากหลายจนเทียบชั้นได้กับระบบบริหารจัดการข้อมูล ( Content Management ) บนเว็บไซต์เลยทีเดียว เพราะบล็อกในปัจจุบันทำได้ตั้งแต่แสดงภาพ แสดงข้อมูลมัลติมีเดีย จัดทำโพลโหวต เพลงประกอบเว็บ ระบบแสดงความคิดเห็น เป็นต้น ซึ่งในการใช้งาน Blogging ผู้ใช้ต้องทำการสมัครสมาชิกเข้าสู่ระบบ มีขั้นตอนดังนี้
1. ผู้ใช้ทำการสมัครสมาชิกโดยการป้อนชื่อผู้ใช้ และรหัสผ่านที่จะใช้เข้าสู่ระบบ ดังรูปที่ 1
2. ทำการกรอกข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการใช้สมัครสมาชิก โดยระบบจะทำการตรวจสอบข้อมูลที่ผู้ใช้ทำการป้อนเข้าสู่ระบบ
3. เมื่อป้อนข้อมูลเรียบร้อยและทำการเข้าสู่ระบบแล้ว ผู้ใช้จะสามารถทำการสร้าง Blog ของตนเองได้ตามความต้องการ ดังรูปที่ 2
3. เมื่อป้อนข้อมูลเรียบร้อยและทำการเข้าสู่ระบบแล้ว ผู้ใช้จะสามารถทำการสร้าง Blog ของตนเองได้ตามความต้องการ ดังรูปที่ 2
รูปที่
2 การสมัคร Blog
ประโยชน์ของ blog
1. ใช้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้ การเขียน blog สำหรับบันทึกเรื่องราว ข่าวสาร ความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ในสิ่งที่ผู้เล่าสนใจ เป็นการถ่ายทอดสิ่งที่ถูกบันทึกไว้ในสมองลงสู่ตัวหนังสือการเขียนต้องมีอิสระทางความคิดในรูปแบบที่เป็นตัวของตัวเอง จะช่วยอำนวยให้การดึงเอาความรู้ฝังลึกถูกแสดงออกมาได้โดยไม่ยากนักน็ และการเขียน blog อยู่เป็นประจำก็จะสามารถนำมาสู่การสร้างขุมความรู้ ( Knowledge Assets ) อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ การเก็บรวบรวมและการแก้ไขหรือเพิ่มเติมความรู้ก็ทำได้โดยสะดวก รวดเร็ว
2. เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ความรู้ โดยหลักการของ blog คือการเผยแพร่เรื่องราวที่ผู้เขียนเขียนไว้บน blog เพื่อแสดงตัวตนของผู้เขียนออกสู่สาธารณชนซึ่งนั่นหมายถึง blog ย่อมมีความสามารถในการสนับสนุนการเข้าถึงความรู้ได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว ทันทีที่ผู้เขียนมีการเพิ่มเติมหรือแก้ไขความรู้ที่มีอยู่บน blog ไฟล์ RSS ก็จะทำการดึงเอาเนื้อหานั้น ๆ มาใส่ไว้ในไฟล์ด้วยทันที
3. เป็นเครื่องมือแลกเปลี่ยนความรู้ การเขียน blog จะอนุญาตให้ผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็นต่อความรู้ที่ผู้เขียนถ่ายทอดลงไปใน blog และผู้เขียนได้เขียนโต้ตอบต่อความคิดเห็นนั้น ๆ ในลักษณะของการสนทนาเพื่อหาความแตกฉานในตัวความรู้ ถือได้ว่าเป็นการร่วมกันสกัดความรู้ฝังลึกได้อย่างดี ดังรูปที่ 3
1. ใช้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้ การเขียน blog สำหรับบันทึกเรื่องราว ข่าวสาร ความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ในสิ่งที่ผู้เล่าสนใจ เป็นการถ่ายทอดสิ่งที่ถูกบันทึกไว้ในสมองลงสู่ตัวหนังสือการเขียนต้องมีอิสระทางความคิดในรูปแบบที่เป็นตัวของตัวเอง จะช่วยอำนวยให้การดึงเอาความรู้ฝังลึกถูกแสดงออกมาได้โดยไม่ยากนักน็ และการเขียน blog อยู่เป็นประจำก็จะสามารถนำมาสู่การสร้างขุมความรู้ ( Knowledge Assets ) อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ การเก็บรวบรวมและการแก้ไขหรือเพิ่มเติมความรู้ก็ทำได้โดยสะดวก รวดเร็ว
2. เป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ความรู้ โดยหลักการของ blog คือการเผยแพร่เรื่องราวที่ผู้เขียนเขียนไว้บน blog เพื่อแสดงตัวตนของผู้เขียนออกสู่สาธารณชนซึ่งนั่นหมายถึง blog ย่อมมีความสามารถในการสนับสนุนการเข้าถึงความรู้ได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว ทันทีที่ผู้เขียนมีการเพิ่มเติมหรือแก้ไขความรู้ที่มีอยู่บน blog ไฟล์ RSS ก็จะทำการดึงเอาเนื้อหานั้น ๆ มาใส่ไว้ในไฟล์ด้วยทันที
3. เป็นเครื่องมือแลกเปลี่ยนความรู้ การเขียน blog จะอนุญาตให้ผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็นต่อความรู้ที่ผู้เขียนถ่ายทอดลงไปใน blog และผู้เขียนได้เขียนโต้ตอบต่อความคิดเห็นนั้น ๆ ในลักษณะของการสนทนาเพื่อหาความแตกฉานในตัวความรู้ ถือได้ว่าเป็นการร่วมกันสกัดความรู้ฝังลึกได้อย่างดี ดังรูปที่ 3
4. เป็นเครื่องมือในการค้นหาความรู้ ผู้ชำนาญการ
และชุมชนปฏิบัติ การเขียนและอ่าน blog เป็นวิธีการค้นหาความรู้
ช่วยให้ค้นพบผู้มีความรู้ความชำนาญในด้านต่าง ๆ ได้รวดเร็วขึ้น
ไม่ว่าจะโดยการเขียน blog ที่มักอ้างถึง blog อื่น ๆ โดยการโยงลิค์ไปหาบทความหรือบันทึกนั้น ๆ
อีกทั้งลิค์ที่ผู้เขียนบรรจุไว้ใน blog ซึ่งอยู่นอกตัวบทความ
หรือการร่วมเป็นสมาชิกของ blog ชุมชน
5. เป็นเครื่องมือในการรวบรวมและแยกแยะประเภทของความรู้ สกัดแก่นความรู้ และสร้างความสัมพันธ์ของความรู้ วิธีการหนึ่งที่ระบบ blog โดยทั่วไปนำมาใช้ในการรวบรวมและแยกประเภทของของบันทึก คือการให้ผู้เขียนระบุหมวดหมู่หรือคีย์เวิร์ดของบันทึกนั้น ๆ ไว้ ซึ่งบันทึกหนึ่ง ๆ อาจมีความเหมาะสมในการแยกหลายหมวดหมู่ ถือเป็นการสกัดแก่นความรู้จากขุมความรู้ โดยที่ตัวผู้เขียนเอง อาจจะดึงเอาคีย์เวิร์ดของชุมชนที่ถูกรวบรวมผู้ใช้หลายคน
6. เป็นเครื่องมือในการสร้างลำดับความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของความรู้โดยผู้นำเอาความรู้นั้นไปใช้ สิ่งที่นักปฏิบัติด้านการจัดการความรู้อยากให้เกิดขึ้นภายหลังจากการที่ได้มีการจัดการความรู้ ก็คือ การที่มีผู้อื่นนำเอาความรู้นั้น ๆ ไปใช้ให้เกิดผลและนำผลมาปรับปรุงความรู้เดิมให้เกิดความรู้ตัวใหม่ หรือทำให้ความรู้นั้น ๆ มีความถูกต้องมีหลักฐานที่วัดได้ทางวิทยาศาสตร์ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ระบบ blog ประกอบกับเทคโนโลยีในการ พัฒนาเว็ปในปัจจุบัน สามารถสร้างระบบ Rating หรือระบบการจัดลำดับความน่าเชื่อถือ และความถูกต้องของความรู้หนึ่ง ๆ ได้โดยตรงจากผู้อ่าน blog ซึ่งอาจจะเป็น ผู้ที่ได้นำเอาความรู้นั้นๆ ไปใช้เองอีกด้วย หรือการแสดงสถิติต่างๆของ blog เช่น บันทึกที่ได้รับการแสดงข้อคิด เห็นมากที่สุด หรือ บันทึกที่มีผู้อ่านมากที่สุด ก็สามารถเป็นเครื่องมือพิสูจน์ความน่าเชื่อถือ และความถูกต้องของความรู้ได้ในระดับหนึ่งด้วยเช่นกัน
7. ใช้เป็นเครื่องมือแสดงรายละเอียดของแก่นความรู้อย่างเป็นระบบซึ่งนักวิทยาศาสตร์ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ กล่าวไว้ว่า "Imagination is more important than knowledge." การไม่หยุดคิดที่จะวิจัยและพัฒนา เครืองมือเทคโนโลยีเพื่อช่วยสร้างความสมบูรณ์แบบของระบบ การจัดการกับความรู้เป็นสิ่งที่สนับสนุนให้เกิดขึ้นได้ เช่น ในปัจจุบันระบบ blog ถือว่าเป็นเครื่องมือสำหรับเสริมสร้างประสิทธิภาพในการเล่าเรื่อง ซึ่งถือเป็นเทคนิคที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายในการจัดการความรู้ แต่เพื่อที่จะสกัดความรู้ฝังลึกที่มีความซับซ้อน การใช้เทคนิคการเล่าเรื่องเพียงอย่างเดียว หรือการร่วมช่วยกันเล่าก็ตาม ก็อาจจะยังไม่สามารถสกัดเอาความรู้ออกมาได้หมด เพราะความสับสน และความไม่มีรูปแบบในตัว ของความรู้เอง ดังนั้น เทคโนโลยีที่น่าจะสามารถช่วยจัดการความรู้ประเภทนี้ได้ ก็เช่น Rule-based reasoning หรือ Fuzzy logic เพื่อ ใช้ในการทำเหมืองความรู้ ( Knowledge mining ) เป็นต้น
8. เป็นศูนย์ความรู้ขององค์การ เพราะให้พนักงานและบุคลากร แต่ละคนเขียน blog ส่วนตัวไว้ หากพนักงานและบุคลากรท่านนั้นลาออกไป ความรู้ยังคงอยู่ที่องค์กรให้รุ่นน้องศึกษาไปโดยการถ่ายทอด หรือแลกเปลี่ยนความรู้ โดยเฉพาะ Tacit Knowledge เขียนออกมาเป็น "เรื่องเล่า"
5. เป็นเครื่องมือในการรวบรวมและแยกแยะประเภทของความรู้ สกัดแก่นความรู้ และสร้างความสัมพันธ์ของความรู้ วิธีการหนึ่งที่ระบบ blog โดยทั่วไปนำมาใช้ในการรวบรวมและแยกประเภทของของบันทึก คือการให้ผู้เขียนระบุหมวดหมู่หรือคีย์เวิร์ดของบันทึกนั้น ๆ ไว้ ซึ่งบันทึกหนึ่ง ๆ อาจมีความเหมาะสมในการแยกหลายหมวดหมู่ ถือเป็นการสกัดแก่นความรู้จากขุมความรู้ โดยที่ตัวผู้เขียนเอง อาจจะดึงเอาคีย์เวิร์ดของชุมชนที่ถูกรวบรวมผู้ใช้หลายคน
6. เป็นเครื่องมือในการสร้างลำดับความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของความรู้โดยผู้นำเอาความรู้นั้นไปใช้ สิ่งที่นักปฏิบัติด้านการจัดการความรู้อยากให้เกิดขึ้นภายหลังจากการที่ได้มีการจัดการความรู้ ก็คือ การที่มีผู้อื่นนำเอาความรู้นั้น ๆ ไปใช้ให้เกิดผลและนำผลมาปรับปรุงความรู้เดิมให้เกิดความรู้ตัวใหม่ หรือทำให้ความรู้นั้น ๆ มีความถูกต้องมีหลักฐานที่วัดได้ทางวิทยาศาสตร์ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ระบบ blog ประกอบกับเทคโนโลยีในการ พัฒนาเว็ปในปัจจุบัน สามารถสร้างระบบ Rating หรือระบบการจัดลำดับความน่าเชื่อถือ และความถูกต้องของความรู้หนึ่ง ๆ ได้โดยตรงจากผู้อ่าน blog ซึ่งอาจจะเป็น ผู้ที่ได้นำเอาความรู้นั้นๆ ไปใช้เองอีกด้วย หรือการแสดงสถิติต่างๆของ blog เช่น บันทึกที่ได้รับการแสดงข้อคิด เห็นมากที่สุด หรือ บันทึกที่มีผู้อ่านมากที่สุด ก็สามารถเป็นเครื่องมือพิสูจน์ความน่าเชื่อถือ และความถูกต้องของความรู้ได้ในระดับหนึ่งด้วยเช่นกัน
7. ใช้เป็นเครื่องมือแสดงรายละเอียดของแก่นความรู้อย่างเป็นระบบซึ่งนักวิทยาศาสตร์ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ กล่าวไว้ว่า "Imagination is more important than knowledge." การไม่หยุดคิดที่จะวิจัยและพัฒนา เครืองมือเทคโนโลยีเพื่อช่วยสร้างความสมบูรณ์แบบของระบบ การจัดการกับความรู้เป็นสิ่งที่สนับสนุนให้เกิดขึ้นได้ เช่น ในปัจจุบันระบบ blog ถือว่าเป็นเครื่องมือสำหรับเสริมสร้างประสิทธิภาพในการเล่าเรื่อง ซึ่งถือเป็นเทคนิคที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายในการจัดการความรู้ แต่เพื่อที่จะสกัดความรู้ฝังลึกที่มีความซับซ้อน การใช้เทคนิคการเล่าเรื่องเพียงอย่างเดียว หรือการร่วมช่วยกันเล่าก็ตาม ก็อาจจะยังไม่สามารถสกัดเอาความรู้ออกมาได้หมด เพราะความสับสน และความไม่มีรูปแบบในตัว ของความรู้เอง ดังนั้น เทคโนโลยีที่น่าจะสามารถช่วยจัดการความรู้ประเภทนี้ได้ ก็เช่น Rule-based reasoning หรือ Fuzzy logic เพื่อ ใช้ในการทำเหมืองความรู้ ( Knowledge mining ) เป็นต้น
8. เป็นศูนย์ความรู้ขององค์การ เพราะให้พนักงานและบุคลากร แต่ละคนเขียน blog ส่วนตัวไว้ หากพนักงานและบุคลากรท่านนั้นลาออกไป ความรู้ยังคงอยู่ที่องค์กรให้รุ่นน้องศึกษาไปโดยการถ่ายทอด หรือแลกเปลี่ยนความรู้ โดยเฉพาะ Tacit Knowledge เขียนออกมาเป็น "เรื่องเล่า"
การประยุกต์ใช้ blog
ให้เหมาะสมกับองค์กร
1. ระยะเวลาการใช้งานของบล็อก เพราะผู้ให้บริการในต่างประเทศหลายราย เปิดให้บริการ BLOG แบบเก็บเงิน โดยมีตั้งแต่ชนิดที่ให้ใช้บริการฟรีเป็นระยะเวลา หลังจากหมดระยะเวลาฟรีก็จำเป็นต้องจ่ายค่าเช่าพื้นที่ หรือบางรายใช้วิธีเก็บตามจำนวนผู้เข้าชม หากเข้าชมมากถึงเกณฑ์ก็ต้องเสียค่าบริการ แต่อย่างที่บอกตั้งแต่ต้นว่าเราต้องการสร้างบล็อกที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายเพื่อจะได้ไม่ต้องกังวลเงินที่ต้องลงทุน ดังนั้น บล็อกฟรีเท่านั้นคือ คำตอบ ซึ่งผู้ให้บริการฟรีมีมากมาย เช่น MSN, Blogger, Sanook! BLOG, EXTEENBLOG เป็นต้น
2. ความสะดวกในการใช้งานควรคำนึงถึงความสะดวกทั้งผู้สร้างและผู้ชม เนื่องจากบล็อกส่วนใหญ่มีการอัพเดตบ่อย ๆ ผู้สร้างบางรายอัพเดตข้อมูลทุกวัน ดังนั้น หากใช้งานยากหรือกว่าจะล็อกอินเข้าในงานได้ต้องเสียเวลานานก็คงไม่เหมาะสมที่จะเลือกใช้
นอกจากนี้ ยังต้องมองในมุมของผู้ชมด้วยเช่นกัน หากผู้ให้บริการบล็อกเป็นผู้ให้บริการรายเล็ก มีแบนด์วิดธ์ของเซิร์ฟเวอร์ต่ำ การเรียกหน้าเว็บจะทำได้ช้า ส่งผลต่ออารมณ์ผู้ชมบล็อกของเราด้วย ดังนั้น สำหรับคนไทยทางเลือกที่เหมาะสมจริงๆ ควรจะเป็นบล็อกจากผู้ให้บริการในประเทศ เพราะนอกจากเรื่องความเร็วที่ใช้แบนด์วิดธ์ภายในประเทศแล้วยังมีเรื่องของภาษาที่ทำให้สามารถใช้งานได้สะดวกมากยิ่งขึ้นด้วย
3. การปรับแต่งบล็อก แน่นอนว่าระบบการให้บริการบล็อกส่วนใหญ่เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป ดังนั้น หน้าตาของบล็อกจึงดูคล้ายๆ กัน แต่หากเราเลือกผู้ให้บริการบล็อกที่มีระบบปรับแต่งได้อย่างไม่จำกัด ไม่ว่าจะเป็นการเลือกสี เลือกธีม เลือกลาย เลือกฉากพื้นหลังเลือกตำแหน่งการ จัดวางเนื้อหาได้อย่างน้อยก็ช่วยให้บล็อกของเราสวยงามแตกต่างจากผู้อื่น
4. ฟังก์ชั่นอื่น ๆ พิเศษเพิ่มเติม ผู้ให้บริการบล็อกส่วนใหญ่จะมีฟังก์ชั่นมาตรฐาน เช่น อัลบั้มแสดงรูป ระบบปฎิทิน เป็นต้น แต่ในส่วนของฟังก์ชั่นพิเศษต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้เราไม่จำเป็นต้องไปหาผู้ให้บริการรายอื่นนั้นมีให้เลือกมากน้อยเพียงใด อาทิ ระบบจัดทำแบบสำรวจ ระบบปฎิทินเตือนความจำ ระบบกำหนด การแสดงผลข้อมูลล่วงหน้า ระบบเตือนผู้ตอบข้อความในบล็อก เป็นต้น สิ่งเหล่านี้อาจไม่ใช่ฟังก์ชั่นสำคัญ แต่หากเลือกผู้ให้บริการที่มีฟังก์ชั่นพิเศษมากกว่าได้ย่อมเป็นคำตอบที่ดีกว่า
1. ระยะเวลาการใช้งานของบล็อก เพราะผู้ให้บริการในต่างประเทศหลายราย เปิดให้บริการ BLOG แบบเก็บเงิน โดยมีตั้งแต่ชนิดที่ให้ใช้บริการฟรีเป็นระยะเวลา หลังจากหมดระยะเวลาฟรีก็จำเป็นต้องจ่ายค่าเช่าพื้นที่ หรือบางรายใช้วิธีเก็บตามจำนวนผู้เข้าชม หากเข้าชมมากถึงเกณฑ์ก็ต้องเสียค่าบริการ แต่อย่างที่บอกตั้งแต่ต้นว่าเราต้องการสร้างบล็อกที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายเพื่อจะได้ไม่ต้องกังวลเงินที่ต้องลงทุน ดังนั้น บล็อกฟรีเท่านั้นคือ คำตอบ ซึ่งผู้ให้บริการฟรีมีมากมาย เช่น MSN, Blogger, Sanook! BLOG, EXTEENBLOG เป็นต้น
2. ความสะดวกในการใช้งานควรคำนึงถึงความสะดวกทั้งผู้สร้างและผู้ชม เนื่องจากบล็อกส่วนใหญ่มีการอัพเดตบ่อย ๆ ผู้สร้างบางรายอัพเดตข้อมูลทุกวัน ดังนั้น หากใช้งานยากหรือกว่าจะล็อกอินเข้าในงานได้ต้องเสียเวลานานก็คงไม่เหมาะสมที่จะเลือกใช้
นอกจากนี้ ยังต้องมองในมุมของผู้ชมด้วยเช่นกัน หากผู้ให้บริการบล็อกเป็นผู้ให้บริการรายเล็ก มีแบนด์วิดธ์ของเซิร์ฟเวอร์ต่ำ การเรียกหน้าเว็บจะทำได้ช้า ส่งผลต่ออารมณ์ผู้ชมบล็อกของเราด้วย ดังนั้น สำหรับคนไทยทางเลือกที่เหมาะสมจริงๆ ควรจะเป็นบล็อกจากผู้ให้บริการในประเทศ เพราะนอกจากเรื่องความเร็วที่ใช้แบนด์วิดธ์ภายในประเทศแล้วยังมีเรื่องของภาษาที่ทำให้สามารถใช้งานได้สะดวกมากยิ่งขึ้นด้วย
3. การปรับแต่งบล็อก แน่นอนว่าระบบการให้บริการบล็อกส่วนใหญ่เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป ดังนั้น หน้าตาของบล็อกจึงดูคล้ายๆ กัน แต่หากเราเลือกผู้ให้บริการบล็อกที่มีระบบปรับแต่งได้อย่างไม่จำกัด ไม่ว่าจะเป็นการเลือกสี เลือกธีม เลือกลาย เลือกฉากพื้นหลังเลือกตำแหน่งการ จัดวางเนื้อหาได้อย่างน้อยก็ช่วยให้บล็อกของเราสวยงามแตกต่างจากผู้อื่น
4. ฟังก์ชั่นอื่น ๆ พิเศษเพิ่มเติม ผู้ให้บริการบล็อกส่วนใหญ่จะมีฟังก์ชั่นมาตรฐาน เช่น อัลบั้มแสดงรูป ระบบปฎิทิน เป็นต้น แต่ในส่วนของฟังก์ชั่นพิเศษต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้เราไม่จำเป็นต้องไปหาผู้ให้บริการรายอื่นนั้นมีให้เลือกมากน้อยเพียงใด อาทิ ระบบจัดทำแบบสำรวจ ระบบปฎิทินเตือนความจำ ระบบกำหนด การแสดงผลข้อมูลล่วงหน้า ระบบเตือนผู้ตอบข้อความในบล็อก เป็นต้น สิ่งเหล่านี้อาจไม่ใช่ฟังก์ชั่นสำคัญ แต่หากเลือกผู้ให้บริการที่มีฟังก์ชั่นพิเศษมากกว่าได้ย่อมเป็นคำตอบที่ดีกว่า
หลักการเขียนบล็อก
1. เมื่อมีข้อผิดพลาดใดๆ เกิดขึ้นในบล็อก ไม่ว่าจะเป็นการเขียนบันทึก ข้อมูลเจ้าของบล็อก หรือ ลิงค์ต่างๆ ก็ตาม เจ้าของบล็อกควรแก้ไขและแจ้งให้ผู้อ่านทราบโดยทันที
2. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในบันทึก ให้รักษาข้อความเดิมไว้จะทำการขีดฆ่าข้อความนั้นเสีย ( โดย กด ABC ที่มีขีดกลางทับที่แผงเครื่องมือการเขียนบันทึก ) แล้วแสดงข้อความใหม่ตามข้อความเดิมนั้น ๆ
3. ห้ามลบทิ้งบันทึกที่เขียนไว้แล้วเด็ดขาด เพราะลิงค์ที่อยู่ของบันทึกจะถูกลบออกไปด้วย และหากมีผู้อื่นอ้างอิงงานเขียนชิ้นนี้อยู่บ้างแล้ว ก็จะไม่สามารถคลิ๊กมายังลิงค์นั้นๆได้ แต่หากเจ้าของบล็อกมีบันทึกที่สร้างขึ้นเพื่อทดสอบการใช้งาน ก็ควรทำการลบบันทึกประเภทนี้ออก
4. ไม่ควรลบข้อคิดเห็นของผู้อ่าน ยกเว้นข้อคิดเห็น ที่ไม่สุภาพสร้างความปั่นป่วน หรือเป็น spam
5.ไม่ควรเขียนอ้างอิงถึงข้อพิพาทความไม่ลงรอยใดๆ กับผู้อื่น
6. เจ้าของบล็อกที่เขียนเกี่ยวเนื่องกับองค์กรที่ทำงาน ไม่ควรเขียนบันทึกใดๆ ที่เป็นการละเมิดสัญญาจ้างงาน
7. เจ้าของบล็อกควรนำเสนอและแยกแยะประเด็นระหว่าง ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และข้อความโฆษณา ให้ผู้อ่านได้เข้าใจอย่างถูกต้อง
8. ห้ามนำเสนอข้อมูลที่เป็นเท็จ
9. หากไม่เห็นด้วยกับข้อคิดเห็นที่ผู้อ่านเสนอมาในบล็อก เจ้าของบล็อกก็ควรแสดงข้อคิดเห็นตอบกลับโดยความเคารพในข้อคิดเห็นที่แตกต่างกัน โดยไม่นำมาเป็นเรื่องส่วนตัว
10. เมื่อมีการใช้ข้อความจากที่อื่น ต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มา และลิงค์ที่อยู่อย่างชัดเจน
11. ควรเน้นคุณภาพงานเขียนของทุกบันทึก เช่น ตรวจสอบการสะกดคำก่อนตีพิมพ์บันทึกนั้นๆ ลงในบล็อก
12. ควรเขียนบันทึกอย่างรอบคอบและถูกต้อง
13. ควรตอบอีเมลและข้อคิดเห็นที่ได้รับจากผู้อ่านอย่างเหมาะสมและโดยทันที
14. ควรเขียนบล็อกเป็นประจำ อย่างน้อยสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง
1. เมื่อมีข้อผิดพลาดใดๆ เกิดขึ้นในบล็อก ไม่ว่าจะเป็นการเขียนบันทึก ข้อมูลเจ้าของบล็อก หรือ ลิงค์ต่างๆ ก็ตาม เจ้าของบล็อกควรแก้ไขและแจ้งให้ผู้อ่านทราบโดยทันที
2. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อความในบันทึก ให้รักษาข้อความเดิมไว้จะทำการขีดฆ่าข้อความนั้นเสีย ( โดย กด ABC ที่มีขีดกลางทับที่แผงเครื่องมือการเขียนบันทึก ) แล้วแสดงข้อความใหม่ตามข้อความเดิมนั้น ๆ
3. ห้ามลบทิ้งบันทึกที่เขียนไว้แล้วเด็ดขาด เพราะลิงค์ที่อยู่ของบันทึกจะถูกลบออกไปด้วย และหากมีผู้อื่นอ้างอิงงานเขียนชิ้นนี้อยู่บ้างแล้ว ก็จะไม่สามารถคลิ๊กมายังลิงค์นั้นๆได้ แต่หากเจ้าของบล็อกมีบันทึกที่สร้างขึ้นเพื่อทดสอบการใช้งาน ก็ควรทำการลบบันทึกประเภทนี้ออก
4. ไม่ควรลบข้อคิดเห็นของผู้อ่าน ยกเว้นข้อคิดเห็น ที่ไม่สุภาพสร้างความปั่นป่วน หรือเป็น spam
5.ไม่ควรเขียนอ้างอิงถึงข้อพิพาทความไม่ลงรอยใดๆ กับผู้อื่น
6. เจ้าของบล็อกที่เขียนเกี่ยวเนื่องกับองค์กรที่ทำงาน ไม่ควรเขียนบันทึกใดๆ ที่เป็นการละเมิดสัญญาจ้างงาน
7. เจ้าของบล็อกควรนำเสนอและแยกแยะประเด็นระหว่าง ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และข้อความโฆษณา ให้ผู้อ่านได้เข้าใจอย่างถูกต้อง
8. ห้ามนำเสนอข้อมูลที่เป็นเท็จ
9. หากไม่เห็นด้วยกับข้อคิดเห็นที่ผู้อ่านเสนอมาในบล็อก เจ้าของบล็อกก็ควรแสดงข้อคิดเห็นตอบกลับโดยความเคารพในข้อคิดเห็นที่แตกต่างกัน โดยไม่นำมาเป็นเรื่องส่วนตัว
10. เมื่อมีการใช้ข้อความจากที่อื่น ต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มา และลิงค์ที่อยู่อย่างชัดเจน
11. ควรเน้นคุณภาพงานเขียนของทุกบันทึก เช่น ตรวจสอบการสะกดคำก่อนตีพิมพ์บันทึกนั้นๆ ลงในบล็อก
12. ควรเขียนบันทึกอย่างรอบคอบและถูกต้อง
13. ควรตอบอีเมลและข้อคิดเห็นที่ได้รับจากผู้อ่านอย่างเหมาะสมและโดยทันที
14. ควรเขียนบล็อกเป็นประจำ อย่างน้อยสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง
การอ่าน
blog ด้วยโปรแกรม RSS Reader โดย BlogExpress
ในการอ่าน blog นั้นตั้งอาศัยโปรแกรมตัวหนึ่งที่เข้ามามีส่วนร่วมคือ BlogExpress โดยผู้ใช้ติดตั้ง Microsoft.NET Framework Redistrubutable 1.1 และติดตั้งโปรแกรม BlogExpress ซึ่งง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้ ดังรูปที่ 6
โดยปกติที่ท่านจะพบเมื่อเขียนบล็อคคือความรู้สึกอยากเขียนอยู่เรื่อย ๆ แต่การเขียนบล็อคที่ดีที่ทำให้บล็อคเป็นที่นิยมนั้นส่วนหนึ่งมาจากการเขียนที่อ้างอิงไปยังบันทึกของผู้เขียนบล็อคท่านอื่น ๆ และแสดงความคิดเห็นต่อบันทึกนั้น ๆ ดังนั้น อาการอีกอย่างที่ท่านจะพบควบคู่กับความรู้สึกในการอยากเขียนบล็อคคือการอยากอ่านบล็อค แต่การอ่านบล็อค ถ้าให้เข้าเว็บบล็อคทีละเว็บทีละเว็บ ก็อาจทำให้ท่านรู้สึกขัดใจไม่ทันใจ ด้วยความเร็วของอินเทอร์เน็ตที่อาจจะสุดแสนช้า ก็จะยิ่งอาจจะทำให้หงุดหงิดมากยิ่งขึ้นแต่โดยทั่วไปแล้ว มีเทคโนโลยีอย่างหนึ่งที่ควบคู่มากับ บล็อค ซึ่งท่านที่อ่านและเขียนบล็อคควรจะต้องรู้จักกันไว้ คือ RSS ซึ่งย่อมาจาก Really Simple Syndication ซึ่งมีหลายเวอร์ชันด้วยกัน เช่น RSS 0.91, RSS 1.0, RSS 2.0, และ ATOM
ในการอ่าน blog นั้นตั้งอาศัยโปรแกรมตัวหนึ่งที่เข้ามามีส่วนร่วมคือ BlogExpress โดยผู้ใช้ติดตั้ง Microsoft.NET Framework Redistrubutable 1.1 และติดตั้งโปรแกรม BlogExpress ซึ่งง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้ ดังรูปที่ 6
โดยปกติที่ท่านจะพบเมื่อเขียนบล็อคคือความรู้สึกอยากเขียนอยู่เรื่อย ๆ แต่การเขียนบล็อคที่ดีที่ทำให้บล็อคเป็นที่นิยมนั้นส่วนหนึ่งมาจากการเขียนที่อ้างอิงไปยังบันทึกของผู้เขียนบล็อคท่านอื่น ๆ และแสดงความคิดเห็นต่อบันทึกนั้น ๆ ดังนั้น อาการอีกอย่างที่ท่านจะพบควบคู่กับความรู้สึกในการอยากเขียนบล็อคคือการอยากอ่านบล็อค แต่การอ่านบล็อค ถ้าให้เข้าเว็บบล็อคทีละเว็บทีละเว็บ ก็อาจทำให้ท่านรู้สึกขัดใจไม่ทันใจ ด้วยความเร็วของอินเทอร์เน็ตที่อาจจะสุดแสนช้า ก็จะยิ่งอาจจะทำให้หงุดหงิดมากยิ่งขึ้นแต่โดยทั่วไปแล้ว มีเทคโนโลยีอย่างหนึ่งที่ควบคู่มากับ บล็อค ซึ่งท่านที่อ่านและเขียนบล็อคควรจะต้องรู้จักกันไว้ คือ RSS ซึ่งย่อมาจาก Really Simple Syndication ซึ่งมีหลายเวอร์ชันด้วยกัน เช่น RSS 0.91, RSS 1.0, RSS 2.0, และ ATOM
4. การใช้งาน BlogExpress
RSS หรืออาจเรียกว่า Site feed หรือ Feed เฉย ๆ ก็ได้ เป็นไฟล์ในรูปแบบที่คล้ายคลึงกับ
HTML เรียกว่า XML ซึ่งรวบรวมเอาข้อมูลที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไว้เป็นชุด
ๆ และเป็นลิงค์ที่คลิ้กเข้าไปดูเนื้อหาเต็มๆ ที่อยู่บนเว็ปได้ ลองเปรียบเทียบง่ายๆ
ก็คือ Feed เป็นเหมือนช่องสำนักข่าวโทรทัศน์หนึ่งช่อง (Channel)
เช่น ช่อง 9 ช่อง 7 ช่อง 5 ช่อง 3 หรือ ITV
เป็นต้น ช่องข่าวแต่ละช่องก็จะมีข่าวด่วนอัพเดตหลาย ๆ ข่าว (Items)
ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อข่าวและข่าวที่สรุปๆ นำมาเสนอให้ผู้ชมได้ชมกันโดยทันทีและสั้นกระทัดรัดอีกด้วย
เทคโนโลยี RSS มีประโยชน์มากสำหรับทั้งผู้อ่านและเจ้าของเว็ปไซต์หรือเว็ปบล็อคต่างๆ
ในแง่ของผู้อ่านนั้น แทนที่จะต้องเข้าไปทีละเว็ปไซต์หรือเว็ปบล็อคเพื่ออ่านข้อมูลข่าวสาร
การสมัครรับ Feed จะช่วยประหยัดเวลาและสะดวกในอ่านโดยใช้โปรแกรมหรือเว็ปไซต์ที่กล่าวมาข้างต้น
และปลอดภัยคลายกังวลจากจดหมายข่าวขยะต่างๆ ที่อาจจะเป็นสาเหตุที่ทำให้ตู้จดหมายเต็มเป็นประจำและนำมาซึ่งไวรัสและหนอนคอมพิวเตอร์
เพราะด้วยการสมัครรับ Feed จากเว็ปไซต์หรือบล็อคที่ผู้อ่านสนใจ
ผู้อ่านก็จะสามารถติดตามอ่านข่าวสารที่อัพเดตได้ทันท่วงที โดยไม่ต้องให้อีเมล์แอดเดรสเพื่อจำใจสมัครรับจดหมายข่าวกับทางเว็ปไซต์ที่อาจจะดูไม่น่าไว้วางใจส่วนประโยชน์ในแง่มุมของเจ้าของเว็ปซึ่งเป็นผู้นำเสนอข้อมูลแก่ผู้อ่านนั้นชัดเจน
ไม่ว่าจะเป็นการนำเอา RSS มาเป็นเครื่องมือทางการตลาดในการนำเสนอข้อมูลล่าสุดส่งถึง
Desktop ของลูกค้าโดยความฉับไวโดยไม่จำเป็นว่าจะต้องเพียงบทความหรือบันทึกที่อยู่บนบล็อคเท่านั้น
ข้อมูลอื่นๆ เช่น ปฏิทินกิจกรรม ข่าวสารของบริษัท เอกสารแนะนำสินค้าใหม่ บทความที่น่าสนใจ
เป็นต้นนอกจากนี้ จากปรากฎการณ์อีเมล์ขยะ ( Spam Email ) หรือ
( Junk Email ) ที่มีมากขึ้นเป็นทวีคูณ
ทำให้บริษัทที่ให้บริการฟรีอีเมล์ หรือบริษัทที่มีอีเมล์เซิร์ฟเวอร์ของตนเองจำเป็นต้องใช้โปรแกรมในการสกัดกั้นอีเมล์ขยะเหล่านี้
ซึ่งเซิร์ฟเวอร์จะสกัดเองอัตโนมัติหรือไม่ก็ให้ผู้ใช้เป็นผู้กำหนดการสกัดเองด้วย ด้วยเหตุนี้
อีเมล์ที่ส่งมาที่ผู้ใช้บ่อยๆ อาจจะเป็นรายวันหรือรายสัปดาห์ เช่น จดหมายข่าว (
โดยเฉพาะที่มีการแนบเอกสารมากับอีเมล์นั้นๆ ด้วย ) มักจะถูกเซิร์ฟเวอร์มองว่าเป็นอีเมล์ขยะ
หรือผู้ใช้เองมักจะเพิกเฉยไม่อ่านไปเลยและเกิดเป็นพฤติกรรมที่ทำเป็นประจำ ซึ่งทำให้ผู้ใช้พลาดข่าวสารที่สำคัญของบริษัทผู้นำเสนอข้อมูลโดยสิ้นเชิง
ดังนั้น จะเห็นได้ชัดว่า แนวโน้มการใช้ Feed แทนอีเมล์เพิ่มมากขึ้นและผู้อ่านมักจะอ่านข้อมูลบน
Feed มากกว่าบนอีเมล์ เนื่องด้วยเหตุผลดังกล่าวมา
ตัวอย่าง
BLOG
BLOG ใช้ในการบอกเล่าข้อมูลเกี่ยวกับการเมือง
ที่มา : //www.informatics.buu.ac.th/~athitha/310101/.../Blog.../Blog.do..
ขอบคุณมากคะสำหรับข้อมูล อ่านแล้วได้ความรู้ไปเยอะเลยคะ
ตอบลบเนื้อหาดี และรูปภาพน่าสนใจคะ
ตอบลบ